1.วิชาหลักคิด ปรัชญา จริยธรรมทางสังคมสงเคราะห์
1.1 แนวคิดทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (20%)
- มนุษย์และสังคม:
- สังคมวิทยา (ทฤษฎีโครงสรางหน้าที่ทางสังคม ทฤษฎีการหน้าที่ ทฤษฎีบทบาท ทฤษฎีความขัดแย้ง ทฤษฎีปรากฏการณ์นิยม ทฤษฎีประทับตรา ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวทางสังคม เครือข่ายทางสังคม และการสนับสนุนทางสังคม ฯลฯ)
- มานุษยวิทยา (ทฤษฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม ทฤษฎีความก้าวหน้าทางวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม ฯลฯ)
- รัฐศาสตร์ (ระบบการเมือง การปกครอง สถาบันทางสังคม การกระจายอํานาจ ฯลฯ)
- เศรษฐศาสตร์ (ระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์ – อุปทาน)
- จิตวิทยา (ทฤษฎีพฤติกรรม จิตวิทยาพัฒนาการ ทฤษฎีความผูกพัน ความสามารถในการฟื้นตัว ความสามารถในการเผชิญปัญหา (Coping Skills) ทฤษฎีการปรับตัว (Adjustment Theory)
- นิเวศวิทยา ฯลฯ
- นิยัตินิยม พฤติกรรมนิยม มนุษยนิยม
- พหุวัฒนธรรม
- ความเป็นธรรมทางสังคม
- ภาวะก่อนทันสมัย (Pre – modern), ภาวะทันสมัย (Modern), ภาวะหลังทันสมัย (Post – modern)
- ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change Theory)
- ทฤษฎีการพัฒนา (Development Theory)
- ทฤษฎีสตรีนิยม, แนวคิดเกี่ยวกับเพศภาพ
1.2 สถานการณ์ทางสังคมและปัญหาทางสังคม (15%)
- สถานการณ์/ปัญหาสังคม
- สถานการณ์รอบตัวที่มีความเกี่ยวข้องกับวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
- สถานการณ์ทางสังคม และแนวโน้มทางสังคมทั้งในและต่างประเทศ
- ปัญหาทางสงัคม ทั้งในและต่างประเทศ
1.3 ปรัชญาฐานคิดทางสังคมสงเคราะห์ (20%)
- ปรัชญาฐานคิดทางสังคมสงเคราะห์
- ฐานคิดและกระบวนทัศน์ที่ช่วยให้เข้าใจงานสังคมสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม โดยมีกรณีตัวอย่างเชิงสถานการณ์
- แนวคิดทฤษฎีที่นักสังคมสงเคราะห์นํามาใช้ในการปฏิบัติงาน เช่น สิทธิมนษุยชน การมีส่วนร่วม ความเป็นธรรมทางสังคม การกระจายทรัพยากร บริการทางสังคม (social services) สวัสดิการสังคม (social welfare) การพัฒนาสังคม (social development) รัฐสวัสดิการ (welfare state) เครือข่ายการคุ้มครองทางสังคม (social safety net & social protection floor)
- กรณีตัวอย่างเชิงสถานการณ์ที่สะท้อนแนวคิดและแนวทางการทํางานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม
- พลวัตของงานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคมทั้งในและต่างประเทศ
1.4 จริยธรรมทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ (15%)
- จริยธรรมทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
- ค่านิยมและหลักการของวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
- จรรยาบรรณทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ : ต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ ต่อผู้ใช้บริการ (บุคคล กลุ่ม ชุมชน) ต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ และผู้ร่วมงานในวิชาชีพอื่น ต่อองค์กรที่สังกัด และต่อสังคม
- ข้อบังคับจรรยาบรรณ
- โครงสร้างทางสังคมในการหล่อหลอมจริยธรรมและพิทักษ์สิทธิคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์
1.5 การเสริมพลังอํานาจทางสังคมสงเคราะห์ (15%)
- การเสริมพลังอํานาจ
- องค์ความรู้ แนวคิด แนวทางการเสริมพลังอํานาจในระดับต่าง ๆ ผ่านกรณีตัวอย่างที่สะท้อนบทบาทการทํางานเสริมพลังอํานาจของนักสังคมสงเคราะห์
1.6 กฎหมายที่เกี่ยวของกับงานสังคมสงเคราะห์ (15%)
- กฎหมายที่เกี่ยวของ
- กฎหมายวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ และกฎหมายทางสังคมที่มีความเกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวาด้วยการคุ้มครองเด็ก กฎหมายว่าด้วยการคุมมครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพดติด กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิต กฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครวัฯ กฎหมายว่าด้วยค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุย์ กฎหมายว่าด้วยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พันธกรณี/ข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ
2.การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์
2.1 กระบวนการและวิธีการทํางาน
- กระบวนการและวิธีการทํางาน
- กระบวนการและวิธีการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ เช่น การสืบค้นข้อเท็จจริง การประเมินสภาวะ การวางแผน การดำเนินการ การประเมินสภาวะซ้ํา การติดตามประเมินผล และกรณีตัวอย่างเชิงสถานการณ์ถึงบทบาทและทางเลือกของนักสังคมสงเคราะห์ ทั้งในระดับจุลภาค มัชฌิมภาค มหภาค
- วิธีการทํางานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ เช่น การสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย สังคมสงเคราะห์กลุ่มชน การทํางานกับชุมชน
- การวิจัย
- การบริหารและนโยบายทางสังคม
2.2 การให้การปรึกษาทางสังคมสงเคราะห์ (15%)
- การให้การปรึกษา
- การให้การปรึกษา : หลักการ ทฤษฎี ทักษะ และเทคนิคในการให้การปรึกษา เช่น ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ทฤษฎีการให้การปรึกษายึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง Gestalt Theory, Behavioral Theory, Cognitive Behavioral Therapy (CBT), Solution–Focused Brief Therapy, Satir’s Model ทฤษฎีแรงจูงใจ ฯลฯ
2.3 เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ (10%)
เครื่องมือที่สําคัญ จําเป็น และหน้าที่ของเครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ประเภทต่าง ๆ ทั้งในและนานาประเทศ
- เครื่องมือที่สําคัญ
- แบบประเมินกาย จิต สังคม
- แบบประเมินความเสี่ยง
- แบบประเมินครอบครัว
- แบบประเมินความต้องการ
- แบบประเมินบัญชีปัญหาทางสังคม
- Family Tree
- ECO Map
- Genogram
- Timeline
- Life Plan/ Contract Plan
- IDP/IEP/IRP
- แบบทดสอบจิตวิทยา เช่น แบบทดสอบความเครียด
- เครื่องมือประเมินเฉพาะลักษณะงาน เช่น แบบประเมินการทํางานด้านเด็ก แบบประเมินการทํางานด้านยาเสพติด แบบประเมินการทํางานด้านผู้สูงอายุ ฯลฯ
- เครื่องมือการทํางานในชุมชน เช่น การศึกษาชุมชน แผนที่เดินดิน ปฏิทินฤดูกาล ฯลฯ
- เครื่องมือการทํางานกลุ่ม
- ฯลฯ
2.4 เทคนิค ทักษะในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ (25%)
- เทคนิค ทักษะในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์
- ผ่านสถานการณ์การทํางานของนักสังคมสงเคราะห์ในกรณีที่แตกต่างกัน ผ่านการทํางานกับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เป็นเนื้องานของนักสังคมสงเคราะห์ในปัจจุบัน
- ทักษะพื้นฐาน ได้แก้การสร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพ การสัมภาษณ์การเยี่ยมบ้าน การบันทึก การสังเกต การส่งเรื่องต่อ การยุติเรื่อง การประสานงาน การบริหารความขัดแย้ง การทํางานกับกลุ่มเป้าหมายตามช่วงวัย
- ทักษะอื่น ๆ ที่จําเป็น เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการป้องกันตนเอง ทักษะการทํางานกับกลุ่มเป้าหมาย ทักษะการวิจัย เป็นตน
2.5 การจัดการรายกรณี (10%)
ความหมาย บทบาทการทํางาน วิธีการทํางานในฐานะผู้จัดการรายกรณีในการทํางานเพื่อให้ความคุ้มครองผู้ใช้บริการ การทํางานกับทีมสหวิชาชีพและการประสานทรัพยากรที่จําเป็น
ดูทั้งหมด 15,773 ครั้ง, ดูวันนี้ 14 ครั้ง